บทความ

รายชื่อนักศึกษาห้องBการจัดการ60

วิชา คอมพิวเตอร์ในงนอุตสาหกรรม   อาจารย์ ธนภัทร  ชัยญโชค   อาจารย์ปาล์ม    สมาชิก 1.นาย เกียรติศักดิ์  เกตุอักษร  ไฟท์ 2.นา ย จรณะ  เเท่งทอง   เปา 3.นางสาวเฉลิม  ศรีมณี   เจล 4.นายชาติศิริ  รัตนชู   ติ้บ 5.นายชินวัตร์  เพ็รชโสม  เเมน 6. นายณฐกร ชัยปาน โจ 7. นายณัฐกร สงสม จ๊อบ 8. นายณัฐพล วงศ์สุขมนตรี เกม 9. นางสาวทัศนีย์วรรณ กาญจนโนภาส สา 10. นายธัณว้ตร์ แก้วบุษบา ธัน 11. นายนราธร จันทรจิตร เนม 12. นางสาวนิชาภัทร เพ็ชรวงศ์ แอม 13. นางสาวเบญญทิพย์ ฆังคสุวรรณ อ้าย 14. นางสาวปัถยา บุญชูดำ ปัด 15. นายพศวัต บุญแท่น อ๊อฟ 16. นางสาวแพรพลอย พรหมประวัติ แพร 17. นายไฟซ้อล ประชานิยม ซอล 18. นายภูมิภัทร์ สรรนุ่ม อ้วน 19. นายยศกร บัวดำ ทาย 20. นางสาวรัฐชา วงศ์สุววรณ เบญ 21. นายเรืองศักดิ์ ใหม่แก้ว เอ็ม 22. นางสาววลีพร ลิขิตธีระกุล นุ๊ก 23. นายวาทิศ อินทร์ปราบ เบนซ์ 24. นางสาววิภารัตน์ ดำสุข ออม 25. นางสาวศศิธร ชูปาน จูน 26. นายสุภกิจ ดิเลส ดุกดิก 27. นายเศรษฐชัย ฐินะกุล ตาล 28. นายสราวุธ จันทร์แก้ว ฟิลม์ 29. นายสุชาครีย์ งามศรีตระกุล

ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติAS/RS

รูปภาพ
ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ AS/RS     ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ   (Automated Storage/Retrieval System  เรียกโดยย่อว่า  AS/RS)   คือ   การทำงานของระบบการจัดเก็บในคลังสินค้าหรือโกดัง ที่มีการควบคุมด้วยระบบการจัดเก็บวัสดุ การรับวัสดุ รวมทั้งการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ขนถ่าย ที่ทำงานร่วมกับโรงงานและคลังสินค้า ซึ่งสามารถออกแบบการใช้งานให้เหมาะสมกับการทำงานลักษณะต่างๆได้ โดยทั่วไปแล้วปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการจัดเก็บและเรียกใช้ของอุปกรณ์ แบบ  AS/RS  จะพิจารณาจากลักษณะโครงสร้างของหิ้งที่ใช้จัดเก็บ ความเร็วในการเคลื่อนของอุปกรณ์  AS/RS  ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ ระบบ  AS/RS  แบ่งออกเป็นแบบต่าง ๆ ดังนี้ - Unit Load AS/RS - Miniload AS/RS - Man-on-Board AS/RS  หรือ  Manaboard AS/RS - Automated Item Retrieval System - Deep-Lane AS/RS          องค์ประกอบพื้นฐานของระบบ  AS/RS 1.        โครงสร้างที่เก็บวัสดุ  (Storage Structure) 2.        เครื่อง  S/R (Storage/Retrieval Machine) 3.        หน่วยของการเก็บวัสดุ  (Storage Module) 4.        สถานีหยิบและฝาก

เกียรติศักดิ์046 เรื่องหุ่นยนต์

หุ่นยนต์ในโรงงานอุตสาหกรรม ลักษณะ:   สำหรับหยิบจับ - วางชิ้นงาน ตามรูปแบบที่ลูกค้าต้องการ เช่น กระสอบ ถุง กล่อง ลัง เป็นต้น และยังสามารถใช้ร่วมกับอุปกรณ์เสริมใน กระบวนการผลิตประเภทเครื่องพันพาเลท เครื่องพิมพ์บาร์โค๊ด และอื่นๆ กลุ่มอุตสาหกรรม:   ชิ้นส่วนรถยนต์, ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า, บรรจุภัณฑ์, ชุดแต่งรถยนต์ หุ่นยนต์เก็บกู้วัตถุระเบิด          หุ่นยนต์เก็บกู้วัตถุระเบิด เป็นหุ่นยนต์ที่สร้างมาจากโลหะ alloy มีความแข็งแรง ทนทานและน้ำหนักเบา    สามารถควบคุมได้ทั้งแบบมีสายและไร้สาย สามารถทำงานร่วมกับปืนทำลายวงจรและเครื่องเอ็กซเรย์แบบ พกพา หุ่นยนต์เลียนแบบสิ่งมีชีวิต หุ่นยนต์ คือเครื่องจักรกลชนิดหนึ่งที่มีลักษณะโครงสร้างและรูปร่างแตกต่างกัน หุ่นยนต์ในแต่ละประเภทจะ มีหน้าที่การ ทำงานในด้านต่าง ๆ ตามการควบคุมโดยตรงของมนุษย์ การควบคุมระบบต่าง ๆ ในการสั่งงาน ระหว่างหุ่น ยนต์และ มนุษย์ สามารถทำได้โดยทางอ้อมและอัตโนมัติ โดยทั่วไปหุ่นยนต์ถูกสร้างขึ้นเพื่อสำหรับ งานที่มีความยากลำบากเช่น งานสำรวจในพื้นที่บริเวณแคบหรืองานสำ

เครื่องจักรระบบ NC DNC CNC

เครื่องจักร NC DNC CNC ประวัติของเครื่องจักรกล NC  CNC      เป็นคำย่อมาจากคำว่า Computer Numerical Control หมายถึงการใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยควบคุมการทำงานเครื่องจักรกลอัตโนมัติต่างๆ เช่น เครื่องกัด เครื่องกลึง เครื่องเจาะ เครื่องเจียระไน ฯลฯ โดยการสร้างรหัส ตัวเลข สัญลักษณ์ หรือเรียกว่าโปรแกรม NC ขึ้นมาควบคุมการทำงานของเครื่องจักรกล ซึ่งสามารถทำให้ผลิตชิ้นงานได้รวดเร็วถูกต้อง และเที่ยงตรง     นับตั้งแต่ปีค.ศ. 1960 เป็นต้นมา เทคโนโลยีทางด้านไมโครโปรเซสเซอร์เข้ามามีบทบาทแทนที่หลอดสุญญากาศ และทรานซิสเตอร์ก็มีการพัฒนาจากเครื่องจักร NC มาเป็นเครื่องจักร CNC (Computer Numerically Controlled) และเครื่องจักร CNC ก็กลายเป็นพระเอกที่โดดเด่นเรื่อยมา เนื่องจากมีหน่วยความจำขนาดใหญ่สามารถบรรจุโปรแกรมการทำงานต่างๆ ได้เป็นจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีจอภาพแสดงผลแบบกราฟิกแสดงผลหรือจำลองการทำงานได้อีกด้วย        ในการโปรแกรมข้อมูลเข้าไปยังตัวควบคุมเครื่องจักร (Machine Control) ซึ่งเรียกการควบคุมแบบนี้ว่าระบบ softwired โดยมีการเปลี่ยนอุปกรณ์ แบบเก่าเป็นอุปกรณ์ที่สามารถจัดเก็บโปรแกรมได้ ตั้งแต่นั้นเป็นต้

เทคโนโลยีการสื่อสาร

รูปภาพ
ระบบสื่อสารวิทยุคมนาคมระบบ ทรั้งค์       ระบบวิทยุคมนาคมระบบ ทรั้งค์ เป็นเครือข่ายวิทยุสื่อสาร ที่มีการทำงานคล้ายกับระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่นั่นเอง จะมีสถานีกลาง (System Control) ทำหน้าที่จัดช่องสัญญาณให้มีจำนวนช่องสัญญาณเพียงพอในการรองรับการใช้งานของเครื่องลูกข่ายทั้งหมดในระบบ มีสถานีทวนสัญญาณ (Repeater Station) ทำหน้าที่เชื่อมโครงข่ายให้ครอบคลุมพื้นที่ของเครือข่ายนั้นๆ และเลือกช่องสัญญาณที่ว่างอยู่ให้ลูกข่ายโดยอัตโนมัติ อีกทั้งสามารถเรียกเฉพาะเครื่องลูกข่ายที่ต้องการติดต่อได้ และมีระบบการสื่อสารเฉพาะกลุ่ม (Private Call) โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีระบบการเชื่อมต่อระบบโทรคมนาคมอื่น (PCM Switch) และมี โปรโตคอล MPT 1327 เป็นที่นิยมที่สุดในปัจจุบัน นี่เป็นภาพรวมพอเข้าใจระบบ วิทยุ ทรั้งค์ จะเห็นว่ามันก็คือ เซลลูลาร์ ชนิดหนึ่งนั่นเอง เพียงแต่ว่า “ไม่เสียค่า แอร์ไทม์”           ภาพสถานีทวนสัญญาณ วิทยุ ทรั้งค์ ด้านบนกลมๆ สีดำบนชั้น Rack เป็น Duplexer ทำหน้าที่แยกภาครับส่งของสายอากาศ กล่องสีดำรองลงมาคือ Repeater ส่วนกล่องสีขาวตรงกลางคือ PCM Switch และกล่องสีดำล่างกล่องขาวคือ Controller ส่วนกล่

วิชา คอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม

🔜เนื้อหาประจำวิชาคอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม🔙 บทที่1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ บทที่2 การนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสากรรม บทที่3 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย บทที่4 ระบบประมวลผล บทที่5 เครื่องจักรกลNC บทที่6 หุ่นยนต์อุตสาหกรรม บทที่7 ระะบบขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ บทที่8 ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ บทที่9 PLC/PC บทที่10 คอมพิวเตอร์กับงานผลิต